รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า
ปลายยุค ค.ศ. 1860 การอ้างอิงถึงมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า สามารถดูหลักฐานได้ในสิทธิบัตร ดังต่อไปนี้. ปี ค.ศ. 1911: รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าใช้ได้ตามต้นบทความกลไกยอดนิยม ปี ค.ศ. 1920: Ransomes ผู้ผลิตรถยกในปัจจุบันได้สารวจการใช้มอเตอร์ไซค์ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
การพัฒนานี้และอื่น ๆ ช่วยปูทางให้ บริษัท ใช้รถยนต์เหมืองแร่และลอเรนซ์ไฟฟ้า ช่วงต้นทศวรรษ 1940: การปันส่วนเชื้อเพลิงในสหรัฐอเมริกาทาให้เอิร์ลวิลเลี่ยมส์เปลี่ยนรถมอเตอร์ไซค์เป็นพลังงานไฟฟ้า เรื่องนี้กลายเป็น พื้นฐานสาหรับการจัดตั้ง ParCar จาก Marketeer Company ค.ศ. 1941: การปันส่วนเชื้อเพลิงในยุโรปที่ถูกจองจาได้รับการสนับสนุนให้ บริษัท ออสเตรียโดยใช้ชื่อ Socovel เพื่อสร้างรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ขนาดเล็ก ประมาณ 400 ถูกผลิตขึ้น ค.ศ. 1967: รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าขับเคลื่อนด้วยเซลล์เชื้อเพลิงครั้งแรกที่สร้างโดย Karl Kordesch ท่ี Union Carbide ลัทธิ แสดงให้เห็นถึง ความเป็นไปได้ของเซลล์เชื้อเพลิงเป็นแหล่งจ่ายไฟ เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้เป็นเซลล์เชื้อเพลิงชนิดอัลลิลีที่ทางานด้วยไฮดราซีนจรวดเชื้อเพลิง จรวด ค.ศ. 1967: "Papoose" ต้นแบบรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กที่สร้างขึ้นโดย บริษัท Motocycle ของอินเดียภายใต้การดูแลของ Floyd Clymer ต้นปีค.ศ. 1970: มีการจัดจำหน่ายจักรยานขนาดเล็กขนาดเล็กที่มีมอเตอร์ไซค์ขนาดเล็ก
(รถจักรยานยนต์ขนาดเล็ก) Aurestetic Charger ค.ศ. 1973: Mike Corbin ได้กำหนดความเร็วของรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าความเร็วสูง 101 ไมล์ต่อชั่วโมง ค.ศ. 1974: Corbin-Gentry Inc. เริ่มขายมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าตามท้องถนน ศาสตราจารย์ชาร์ลส์อีแม็คอาร์เทอร์ได้ขึ้นรถคันแรกบนภูเขา วอชิงตัน, นิวแฮมป์เชียร์โดยใช้มอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า Corbin เหตุการณ์นี้ได้ กลายเป็นงานชุมนุมประจาปีที่เรียกว่า "Mt Washington Alternative Vehicle Regatta" ค.ศ. 1978: Harley Davidson ไฟฟ้าที่สร้างโดย Transitron ผลิตในโฮโนลูลูรัฐฮาวาย ค.ศ. 1988: Eyeball Engineering สร้าง Dragabyike KawaSHOCKi
และเป็นจุดเด่นในนิตยสารรายใหญ่ ค.ศ. 1996: Peugeot Scoot'Elec เป็นโรงงานผลิตมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้ารายแรกของโลก ช่วงปลายยุค 90: มอเตอร์ไฟฟ้า EMB Lectra VR24 เป็นหัวหอกในการใช้มอเตอร์แบบฝืนตัวแปร
(จึงเป็น VR) และถูกวางตลาดเป็น กฎหมายถนน ค.ศ. 2000: Killacycle ทำบันทึกระยะทาง 152 ไมล์ต่อชั่วโมงที่ระยะเวลา 9.4 วินาที (400 เมตร) ที่ Woodburn Drags 2000, OR 2000s การพัฒนาแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนและมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ ทำให้มอเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรงเป็นไปได้มากขึ้น ค.ศ. 2007: A123 Li-Ion เซลล์ขับเคลื่อน Killacycle ตั้งใหม่ไตรมาสไมล์ (400 เมตร) บันทึกของ 7.824 วินาทีและ 168 ไมล์ต่อชั่วโมง (270 กม. / เอช) ใน Phoenix, AZ ท่ี AHDRA 2007. [13] ค.ศ. 2008: Electra Green จาก Orlando Tony Parker ใน Omaha เนบราสกาเป็นมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้ารายแรกที่ทำในรัฐ Nebraska 2009 "The 24 Hours of Electricross" ซึ่งเป็นครั้งแรกของการแข่งรถไฟฟ้าทุกประเภท(TTXGP) การแข่งขันรถจักรยานยนต์บนถนนสายไฟฟ้าครั้งแรกเกิดขึ้นที่เกาะไอแมน ค.ศ. 2010 ElectroCat เป็นรถจักรยานยนต์ไฟฟ้ารายแรกที่ขึ้นไปบนยอดเขาและตั้งเวลาบันทึกใน Pikes Peak International Hill Climb
การพัฒนารถไฟฟ้าในต่างประเทศ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ประเทศจีนกำลังประสบปัญหาเนื่องจากหมอกควันพิษจากรถยนต์ตามหัวเมืองใหญ่ จนบางครั้งทัศนวิสัยไม่เกิน 100 เมตรด้วยซ้า จนทำให้ รัฐบาลจีนจริงจังมากในการส่งเสริมให้ประชาชนหันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าหรือรถยนต์ระบบ Hybrid ซึ่งช่วงแรกในการส่งเสริม เมื่อปี ค.ศ. 2010 รัฐบาลจีนชดเชยค่าแบตเตอรี่ให้กับทุกคนที่ซื้อรถยนต์ระบบไฟฟ้า โดยรถยนต์ไฟฟ้า จะชดเชยให้ 60,000 หยวน (ประมาณ 309,000 บาท) ส่วนรถยนต์ Hybrid ชดเชยให้ 50,000 หยวน (ประมาณ 257,000 บาท) เริ่ม ที่ 5 เมืองใหญ่คือ เซี่ยงไฮ้, เสิ่นเจิ้น, หางโจว, ฉางชุน และ เหอเฟย โดยตั้งเป้าไว้ว่าจะมียอดจาหน่ายประมาณ 50,000 คัน แต่แล้วกลับ มียอดขายเพียง 8,159 คันเท่านั้น ทางรัฐบาลจีนจึงมีการแก้ไขใหม่ โดยตั้งเงินชดเชยสาหรับรถยนต์ส่วนบุคคลไว้สูงสุด 9,800 ดอลลาร์ สหรัฐฯ (ประมาณ 350,000 บาท) และรถบัสโดยสารไว้สูงสุด 81,600 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2.91 ล้านบาท) และเปิดให้รับสิทธิ์ ได้ทั่วประเทศ เลยทำให้ยอดจำหน่ายรถยนต์ทั้งระบบไฟฟ้าและ Hybrid ช่วงเดือนมกราคม - สิงหาคม 2014 มียอดจำหน่ายถึง 31,137 คัน เพิ่มขึ้น 328% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2013 เลยทีเดียว และในปัจจุบันทางรัฐบาลจีนก็ยังคงสนับสนุนอยู่เช่นเดิม
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกๆที่ทำการผลิตรถยนต์แบบไฟฟ้า Hybrid ออกมาวางจำหน่ายอย่างเป็นทางการ แต่สิ่งสาคัญในการเติบโต ส่วนหนึ่งก็มาจากการสนับสนุนของรัฐบาลอีกด้วย โดยเมื่อปี 1996 มีการสนับสนุนชดเชยราคาส่วนต่างระหว่างรถยนต์พลังงานไฟฟ้า, Hybrid, ก๊าซ ธรรมชาติ หรือ เมทานอล กับรถยนต์ที่ใช้น้ำมันปกติ ให้สูงสุด 50% จนถึงปี 2003 จึงยกเลิกนโยบายไป จากนั้นช่วงปี 2009 - 2012 มีการสนับสนุนหลักๆด้วยมาตรการทางภาษี ทั้งภาษีการซื้อขายที่ลดให้ 1.6% - 2.7% หรือระหว่าง 150,000 - 300.000 เยน (ประมาณ 46,000 - 92,000 บาท) สำหรับรถยนต์แบบพลังงานไฟฟ้า, Fuel Cell, Plug-In Hybrid, Hybrid, ดีเซลสะอาด และ ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งยังมีการลดภาษีประจำปีให้ 50% สำหรับรถยนต์ไฟฟ้าในช่วงปี 2009-2010 ด้วย และต่อมาก็มีมาตรการเงิน ชดเชยสำหรับคนที่ซื้อรถใหม่ที่เป็นแบบรักษ์สิ่งแวดล้อม ถ้าเป็นขนาดเล็กและขนาดมาตรฐานรับ 100,000 เยน (30,000 บาท) รถขนาด จิ๋วและ Kei Car รับ 50,000 เยน (15,000 บาท) ส่วนรถบรรทุกและรถบัส จะได้รับระหว่าง 400,000 - 1,800,000 เยน (122,000 - 553,000 บาท)
ประเทศเกาหลีใต้ ในเดือนกรกฎาคม 2016 ทางรัฐบาลเกาหลีได้ประกาศแผนส่งเสริมการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าให้มากขึ้น ด้วยมาตรการหลายอย่าง ทั้งลดภาษี ซื้อรถยนต์ไฟฟ้า 14 ล้านวอน (ประมาณ 416,000 บาท) รวมทั้งได้สิทธิในการซื้อประกันภัยในราคาพิเศษ, ส่วนลดค่าที่จอดรถและทาง ด่วน และทางรัฐบาลยังเพิ่มแผนงานในการสร้างสถานีเติมไฟฟ้าแบบชาร์จเร็วให้มีทุกๆ 2 กิโลเมตรในกรุงโซล และอีก 30,000 สถานี ชาร์จแบบช้าติดตามอพาร์ทเม้นท์ 4,000 แห่งทั่วประเทศภายในปี 2020 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ ถือเป็นอีกประเทศที่มีการส่งเสริมการใช้งานพลังงานสะอาด โดยเฉพาะรถยนต์ ที่มีการส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าอย่างเต็มที่ ทั้งไม่มีการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มประมาณ 25% ของราคารถ, ไม่เก็บค่าทางพิเศษ, ไม่เก็บค่าจอดรถในที่จอดของรัฐ, ใช้งานบัสเลนได้ในชั่วโมง เร่งด่วน และนำรถยนต์ขึ้นเรือเฟอร์รี่ได้ฟรี จนปัจจุบันมีรถยนต์ไฟฟ้าที่จดทะเบียนแล้วกว่า 100,000 คัน ถือเป็นประเทศที่มีรถยนต์ไฟฟ้า มากที่สุดในโลกไปแล้ว
ประเทศฝรั่งเศษ ฝรั่งเศสเริ่มมีนโยบายการลดมลพิษจากไอเสียตั้งแต่ปี 2008 แต่ที่เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจริงๆจะเริ่มช่วงปี 2012 เป็นต้นมา เริ่มต้นด้วยเงิน ชดเชยพิเศษให้สำหรับรถที่ปล่อยไอเสียไม่เกิน 125 กรัม/กิโลเมตร รับเงินชดเชย 20% ของราคารถแต่ไม่เกิน 2,000 ยูโร (ประมาณ 75,400 บาท) และรถที่ปล่อยไอเสียไม่เกิน 60 กรัม/กิโลเมตร รับเงินชดเชย 20% ของราคารถแต่ไม่เกิน 5,000 ยูโร (ประมาณ 188,600 บาท) แต่ภายหลังได้เพิ่มเงินชดเชยสำหรับผู้ที่ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าเป็น 30% ของราคารถแต่ไม่เกิน 7,000 ยูโร (ประมาณ 264,000 บาท) และเมื่อถึงปี 2015 ได้ปรับนโยบายใหม่ให้คนเปลี่ยนจากเครื่องดีเซลมาเป็นรถยนต์ไฟฟ้ามากขึ้น ด้วยการชดเชยการซื้อ รถยนต์ไฟฟ้าใหม่จำนวน 6,300 ยูโร (ประมาณ 237,000 บาท) และถ้านำรถยนต์เครื่องดีเซลรุ่นที่ซื้อก่อนวันที่ 1 มกราคม 2001 มา แลก จะเพิ่มเงินชดเชยให้อีก 3,700 ยูโร (ประมาณ 139,600 บาท) และนโยบายล่าสุดที่เพิ่งเริ่มต้นในปี 2017 นั้น ถึงจะมีการลดการ จ่ายชดเชยการซื้อรถยนต์ไฟฟ้าจาก 6,300 ยูโรเป็น 6,000 ยูโร (ประมาณ 226,000 บาท) แต่มีการเพิ่มเงินชดเชยสำหรับคนที่นำ รถยนต์เครื่องดีเซลที่มีอายุการใช้งานเกิน 10 ปีมาแลก เพิ่มให้เป็น 4,000 ยูโรแทน (ประมาณ 150,000 บาท)
ประเทศเยอรมนี ทางการเยอรมนีประกาศอย่างชัดเจนว่าจะเป็นผู้นำตลาดด้านรถยนต์ไฟฟ้าให้ได้ โดยตั้งเป้าหมายว่าบนถนนจะมีรถยนต์ไฟฟ้าวิ่งอยู่ 1 ล้าน คันภายในปี 2020 เริ่มต้นด้วยการงดเก็บภาษีรถยนต์รายปีจำนวน 5 ปี ก่อนจะมาเพิ่มเป็น 10 ปีเมื่อ 1 มกราคม 2016 และช่วยชดเชย ในการซื้อรถยนต์ไฟฟ้าสำหรับใช้ส่วนตัวไว้สูงสุด 5,000 ยูโร (ประมาณ 188,600 บาท) และรถยนต์ของบริษัทรับเงินชดเลย 3,000 ยูโร (ประมาณ 113,000 บาท) และจะลดลงปีละ 500 ยูโรทุกปีจนกว่าจะหมด เริ่มต้นนับตังแต่กุมภาพันธ์ 2016 แถมในเดือนมีนาคมปี เดียวกัน Nissan ยุโรปยังประกาศส่งเสริมเพิ่มเติมด้วยการให้ส่วนลดของผู้ที่ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของ Nissan ทุกคันเท่ากับเงินที่ทางรัฐบาล เยอรมนีชดเชยให้จนกว่าจะครบมาตรการเช่นกัน ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ ตั้งเป้าว่าจะมีรถยนต์ไฟฟ้าบนถนนให้ได้ 1 ล้านคันภายในปี 2025 โดยเริ่มมาตรการแรกด้วยการงดเก็บภาษีจดทะเบียน รถยนต์และภาษีประจำปี ถ้าเป็นรถยนต์ส่วนบุคคลงดเว้นให้ 4 ปี เฉลี่ยจะลดค่าใช้จ่ายได้รวม 5,324 ยูโร (ประมาณ 200,000 บาท) และรถยนต์ขององค์กรรวม 5 ปี ลดได้ประมาณ 19,000 ยูโร (ประมาณ 716,000 บาท) แถมยังมีนโยบายสาหรับผู้ที่นำไปซื้อรถไฟฟ้า เพื่อทำ Taxi และรถ Van ขนส่งคน โดยจะมีเงินชดเชยให้ 3,000 ยูโร (ประมาณ 113,000 บาท) รวมทั้งในเมืองอัมสเตอร์ดัม ยังมีที่ จอดรถพิเศษสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะ, ชาร์จไฟฟ้าฟรีในที่จอดรถสาธารณะ ส่วนที่เมืองร็อตเตอร์ดัม มีที่จอดรถให้ฟรีใจกลางเมืองนาน 1 ปี และชดเชยค่าติดตั้งแท่นชาร์จที่บ้าน 1,450 ยูโร (ประมาณ 54,700 บาท)
ในส่วนของประเทศไทย โดยผู้ประกอบอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ที่เข้าร่วมมาตรการฯ จะได้สิทธิประโยชน์จากภาษีสรรพสามิต อัตราภาษีมูลค่าร้อยละ1และเงินอุดหนุนจำนวน 18,000 บาทต่อคัน สำหรับการนำเข้ารถจักรยานยนต์แบบพลังงานงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ในปี 2565-2566 และผลิตรถจักรยานยนต์ BEV ในปี 2565-2568
โดยรถจักรยานยนต์ BEV ที่เข้าร่วมมาตรการฯ ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1.ต้องเป็นแบตเตอรี่ประเภทลิเธียมไอออน
2.มีความจุแบตเตอรี่ตั้งแต่ 3 kwh ขึ้นไป หรือมีระยะทางที่วิ่งได้ตั้งแต่ 75 กิโลเมตรต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง ตามมาตรฐาน WMTC (World Motorcyle Test ) ตั้งแต่ Class 1 ขึ้นไป
3.ต้องใช้ยางล้อที่เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก.2720-2560 (UN Reg.75 ) หรือที่สูงกว่า (UN Reg.75 )
4.ต้องผ่านการทดสอบความปลอดภัยของรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 2952-2561 (UN Reg.136) หรือที่สูงกว่า
-------------------------------------------------------------------------------------------
รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าLION EV อยากมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้กับคุณ
รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า (Electric Motorcycles) หรือ จักรยานยนต์ไฟฟ้า คือรถที่ใช้มอเตอร์ในการขับเคลื่อนแทนเครื่องยนต์ โดยใช้พลังงานที่ชาร์จเก็บไว้ในแบตเตอรี่เป็นตัวจ่ายไฟไปยังมอเตอร์ ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า 100% และไม่ปล่อยมลพิษสู่ชั้นบรรยากาศโลก -------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สมัครตัวแทนจำหน่าย ติดต่อเข้าชมสินค้าที่บริษัทได้ทางแชท
หรือโทรศัพท์ http://m.me/lionevthailand (เวลาทำการ วันจันทร์ - เสาร์ 08.30-16.30 น.)
โทร 087-548-3338 (เวลาทำการ วันจันทร์ - เสาร์ 08.30-16.30 น
สินค้าคุณภาพดี ตรงปก ราคาคุ้มค่า ที่ตั้งบริษัทชัดเจน ดำเนินธุรกิจมากว่า 20 ปี
จดแจ้งถูกต้อง มี มอก. เสียภาษีสรรพสามิตเรียบร้อยทุกชิ้น
มีบริการหลังการขาย เคลมได้ ไม่ทิ้งลูกค้า มีอะไหล่ให้บริการตลอด
มีรีวิวสินค้า มีสื่อการขายให้พร้อมสำหรับการขายสินค้า
มีเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษา และ แนะนำ
ไม่ต้องแบกรับความเสี่ยงมากมาย และค่าใช้จ่ายแอบแฝงในการนำเข้าสินค้า
ให้เรารับความเสี่ยงทั้งหมดแทนคุณ ด้วยทีมงานมืออาชีพมากประสบการณ์
-------------------------------
สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.lion-ev.com/ev
-------------------------------
LION EV
“Live Electric Life”
ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ของคุณ
Comments